Vision Inspection system – Fully Automatic –
ชุดเครื่องตรวจสอบชิ้นงานอัตโนมัติ 800 ชิ้น/นาที
เราผลิตเองทั้งชุดเครื่องจักร ยินดีให้คำปรึกษาครับ
สนใจติดต่อบริษัท ไทยซูมิ จำกัด
www.thaisumi.com
Vision Inspection system – Fully Automatic –
ชุดเครื่องตรวจสอบชิ้นงานอัตโนมัติ 800 ชิ้น/นาที
เราผลิตเองทั้งชุดเครื่องจักร ยินดีให้คำปรึกษาครับ
สนใจติดต่อบริษัท ไทยซูมิ จำกัด
www.thaisumi.com
สามารถผลิตตามสั่งสำหรับชิ้นงานหลากหลาย สำหรับการใช้งานหลากหลาย ทั้งการนับจำนวน การตรวจสอบชิ้นงาน การเรียงชิ้นงาน การป้อนชิ้นงาน การคัดชิ้นงาน ฯลฯ
สนใจติดต่อทางบริษัท ไทยซูมิ ได้เลยครับ ยินดีให้คำแนะนำครับ
www.thaisumi.com
Counting unit vision system with vibration feeding system by Thai Sumi Company (THAILAND)
Visual Inspection system
ธุรกิจพลังงานทดแทน ชีวมวล พลังงานธรรมชาติ เชื้อเพลิงและเครื่องจักร ระบบการผลิต
พลังงานทดแทนในไทยอาจะแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1) พลังงานธรรมชาติ เช่น แสงอาทิตย์ (solar cell) และพลังงานลม (wind energy)
2) พลังงานชีวภาพ เช่น ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานจากขยะ เป็นต้น
3) เชื้อเพลิงชีวภาพ เช่น เอทานอล และไบโอดีเซล
ถ้าหากถามว่าพลังงานทดแทนของไทยมีอะไรที่น่าลงทุนมากที่สุดสำหรับชาวต่างชาติก็ยังคงเป็นเซลล์แสงอาทิตย์หรือโซล่าเซลล์ ซึ่งสำหรับคนไทยสามารถลงทุนใน Solar Rooftop หรือติดตั้งบนหลังคา แต่ถ้าหาจะทำเป็นธุรกิจก็ควรมองไปที่ชีวมวลและพลังงานขยะ โดยถ้ามีทุนน้อยและต้องการทำกำไรระยะสั้นก็แนะนำให้ลองศึกษา เชื้อเพลิงอัดแท่งหรืออัดเม็ด (wood briquette, wood pellet) ซึ่งมีตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ศักยภาพด้านชีวมวลของไทยนั้นมีสูงมากโดยไทยมีชีวมวลที่ยังไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์กว่า 20 ล้านตันต่อปี แต่การรวบรวมชีวมวลนั้นมีต้นทุนที่สูงมากซึ่งเป็นปัญหาในด้านต้นทุน ทั้งนี้ wood pellet ในประเทศไทยหากได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐก็จะสามารถส่งออกได้ปีละไม่น้อยกว่า 5 ล้านตัน โดยราคาส่งออกขณะนี้ปรับขึ้นๆลงๆอยู่ที่ประมาณตันละ 150 เหรียญ US Dollar นอกจากนี้ wood pellets เกือบเป็นธุรกิจเดียวที่ไม่ต้องพึ่งพาการอุดหนุนด้านราคาจากภาครัฐแต่ก็ต้องทันเกมส์กับตลาดโลก
เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง –> thaisumi company machines
*ข้อมูลจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน
เกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ ศรีสะเกษ ร้องพลังงานช่วย หลังถูกล้มโครงการโรงไฟฟ้าลอยแพเกษตรกร
เกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ศรีสะเกษ ร้องพลังงานช่วย หลังกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเปลี่ยนนโยบายสนับสนุน และทางยูเอซี เอ็นเนอร์ยี่ ล้มโครงการโรงไฟฟ้าลอยแพเกษตรกร
นายจำเนียร นนทะวงษ์ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจแนวคิดใหม่ในอาเซียน อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ เปิดเผยหลังการเข้าร้องเรียนปัญหาต่อนายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน ซึ่งได้ให้ตัวแทนจากศูนย์ดำรงธรรม ประจำกระทรวงพลังงาน รับเรื่องแทน ว่า กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ 14 ครัวเรือนที่ ลงทุนปลูกหญ้าเนเปียร์จำนวน 74 ไร่ ตั้งแต่เดือนก.พ. 2557 ได้รับความเดือดร้อนจากการยกเลิกโครงการนำร่องการผลิตไฟฟ้าจากหญ้าเนเปียร์ ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตามนโยบายของรัฐบาล
จนถึงปัจจุบันยังไม่ได้ตัดหรือขายให้วัตถุดิบได้ เนื่องจากทางบริษัท ยูเอซี เอ็นเนอยี่ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ ยูเอซี โกลบอล จำกัด (มหาชน) ได้ยกเลิกการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าขนาด 1.5 เมกะวัตต์ เพราะไม่ได้รับการสนับสนุนด้านทางเงินตามข้อตกลงจากภาครัฐ
“หญ้าเนเปียร์ที่มีการเพาะปลูกดังกล่าว ทางบริษัทให้ชาวบ้านปลูกเพื่อที่จะใช้เป็นท่อนพันธุ์ เพื่อขยายในพื้นที่ที่เตรียมไว้ เพื่อเป็นวัตถุดิบให้กับโรงไฟฟ้าประมาณ 900 ไร่ โดยชาวบ้านหวังว่าจะมีรายได้จากการตัดขายหญ้าเนเปียร์ทุกๆ 3 เดือน บริษัทไม่ได้สร้างโรงไฟฟ้าตามสัญญา ก็สร้างความเสียหายแถมยังเสียโอกาสที่จะนำพื้นที่ไปทำประโยชน์ด้านอื่น จึงต้องมาขอความช่วยเหลือจากปลัดกระทรวงพลังงาน จากที่ก่อนหน้านี้ได้ไปยื่นเรื่องร้องเรียนต่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน แล้วแต่ก็ไม่มีความคืบหน้า “ นายจำเนียรกล่าว
สำหรับทางออกของปัญหานั้น ทางวิสาหกิจชุมชนต้องการที่จะเป็นผู้ลงทุนเอง เนื่องจากทางที่ปรึกษาทั้งจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มองว่าการนำก๊าซชีวภาพ ที่หมักจากหญ้าเนเปียร์มาผลิตเป็นไฟฟ้า ที่ได้รับเงินสนับสนุนในส่วนฟีดอินทารีฟ ในอัตรา 5.38บาทต่อหน่วยนั้น มีความคุ้มค่าต่อการลงทุน แต่ติดปัญหาตรงที่ไม่สามารถที่จะกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ เพราะต้องใช้วงเงินลงทุนสูงถึง 80 ล้านบาทสำหรับการผลิตไฟฟ้าขนาด 1 เมกะวัตต์
“หากกระทรวงพลังงาน เข้ามาให้ความช่วยเหลือเชื่อว่าสถาบันการเงิน น่าจะมีความมั่นใจมากขึ้น เพราะชาวบ้านไม่ทราบว่าจะกู้เงินมากๆ เพื่อลงทุนโรงไฟฟ้าได้อย่างไร ก่อนหน้านี้เรามีความหวังจากนโยบายรัฐส่งเสริมให้ปลูกหญ้าเนเปียร์ แต่เมื่อเปลี่ยนนโยบาย เอกชนล้มโครงการ กลับกลายเป็นเกษตรกรที่ถูกลอยแพและขาดรายได้มากว่า 1 ปีแล้ว” นายจำเนียร กล่าว
**ข้อมูลจากเว็บไซต์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 18/01/2558
เกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ ศรีสะเกษ ร้องพลังงานช่วย หลังถูกล้มโครงการโรงไฟฟ้าลอยแพเกษตรกร
เกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ศรีสะเกษ ร้องพลังงานช่วย หลังกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเปลี่ยนนโยบายสนับสนุน และทางยูเอซี เอ็นเนอร์ยี่ ล้มโครงการโรงไฟฟ้าลอยแพเกษตรกร
นายจำเนียร นนทะวงษ์ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจแนวคิดใหม่ในอาเซียน อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ เปิดเผยหลังการเข้าร้องเรียนปัญหาต่อนายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน ซึ่งได้ให้ตัวแทนจากศูนย์ดำรงธรรม ประจำกระทรวงพลังงาน รับเรื่องแทน ว่า กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ 14 ครัวเรือนที่ ลงทุนปลูกหญ้าเนเปียร์จำนวน 74 ไร่ ตั้งแต่เดือนก.พ. 2557 ได้รับความเดือดร้อนจากการยกเลิกโครงการนำร่องการผลิตไฟฟ้าจากหญ้าเนเปียร์ ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตามนโยบายของรัฐบาล
จนถึงปัจจุบันยังไม่ได้ตัดหรือขายให้วัตถุดิบได้ เนื่องจากทางบริษัท ยูเอซี เอ็นเนอยี่ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ ยูเอซี โกลบอล จำกัด (มหาชน) ได้ยกเลิกการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าขนาด 1.5 เมกะวัตต์ เพราะไม่ได้รับการสนับสนุนด้านทางเงินตามข้อตกลงจากภาครัฐ
“หญ้าเนเปียร์ที่มีการเพาะปลูกดังกล่าว ทางบริษัทให้ชาวบ้านปลูกเพื่อที่จะใช้เป็นท่อนพันธุ์ เพื่อขยายในพื้นที่ที่เตรียมไว้ เพื่อเป็นวัตถุดิบให้กับโรงไฟฟ้าประมาณ 900 ไร่ โดยชาวบ้านหวังว่าจะมีรายได้จากการตัดขายหญ้าเนเปียร์ทุกๆ 3 เดือน บริษัทไม่ได้สร้างโรงไฟฟ้าตามสัญญา ก็สร้างความเสียหายแถมยังเสียโอกาสที่จะนำพื้นที่ไปทำประโยชน์ด้านอื่น จึงต้องมาขอความช่วยเหลือจากปลัดกระทรวงพลังงาน จากที่ก่อนหน้านี้ได้ไปยื่นเรื่องร้องเรียนต่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน แล้วแต่ก็ไม่มีความคืบหน้า “ นายจำเนียรกล่าว
สำหรับทางออกของปัญหานั้น ทางวิสาหกิจชุมชนต้องการที่จะเป็นผู้ลงทุนเอง เนื่องจากทางที่ปรึกษาทั้งจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มองว่าการนำก๊าซชีวภาพ ที่หมักจากหญ้าเนเปียร์มาผลิตเป็นไฟฟ้า ที่ได้รับเงินสนับสนุนในส่วนฟีดอินทารีฟ ในอัตรา 5.38บาทต่อหน่วยนั้น มีความคุ้มค่าต่อการลงทุน แต่ติดปัญหาตรงที่ไม่สามารถที่จะกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ เพราะต้องใช้วงเงินลงทุนสูงถึง 80 ล้านบาทสำหรับการผลิตไฟฟ้าขนาด 1 เมกะวัตต์
“หากกระทรวงพลังงาน เข้ามาให้ความช่วยเหลือเชื่อว่าสถาบันการเงิน น่าจะมีความมั่นใจมากขึ้น เพราะชาวบ้านไม่ทราบว่าจะกู้เงินมากๆ เพื่อลงทุนโรงไฟฟ้าได้อย่างไร ก่อนหน้านี้เรามีความหวังจากนโยบายรัฐส่งเสริมให้ปลูกหญ้าเนเปียร์ แต่เมื่อเปลี่ยนนโยบาย เอกชนล้มโครงการ กลับกลายเป็นเกษตรกรที่ถูกลอยแพและขาดรายได้มากว่า 1 ปีแล้ว” นายจำเนียร กล่าว
**ข้อมูลจากเว็บไซต์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 18/01/2558
เครื่องอัดเม็ดปุ๋ย เครื่องผลิตเม็ดปุ๋ย
เครื่องทดลองขนาด 7.5 HP motor (our test machine)
maximum size that we manufacture is 50HP (capacity ~300-500 kg/hr, depending on type of fertilizer)
สนใจติดต่อเลยครับ
www.thaisumi.com
ผลิต Bowl feeder for Plastic sauce cup
ผลิตเครื่องป้อนถ้วยน้ำจิ้ม สำหรับถุงขนม และเครื่องป้อนอื่นๆตามต้องการ ราคาไม่แพงครับ
สนในติดต่อมาเลยครับ
www.thaisumi.com
เครื่องเรียงน๊อต เครื่องเรียงสกรู โบว์ฟีดเดอร์ เครื่องแพ็กกิ้ง
รับออกแบบระบบเรียง-ป้อน-นับชิ้นงาน เครื่องบรรจุและแพ็คอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบชิ้นงานทั้งระบบสำหรับชิ้นงานต่างๆ เช่น สกรู น็อต กิ๊ปล็อค หมุด ตะปู ชิ้นงานพลาสติก ท่อเหล็ก ท่อพลาสติก แผ่นโลหะ ตะขอ เป็นต้น โดยมีระบบที่เกี่ยวข้องคือระบบเรียงชิ้นงานสามารถเรียงชิ้นงานออกมาในแนวเดียวกันเพื่อนำไปเข้าสู่กระบวนการต่อไป เช่น ระบบป้อนชิ้นงาน นับชิ้นงาน ตรวจสอบคุณภาพ เป็นต้น
ระบบนับจำนวน มีหลายประเภท เช่น นับชิ้นงานด้วยเซ็นเซอร์แสง เซ็นเซอร์จับโลหะ กล้อง Vision เป็นต้น การนับจำนวนจะต้องใช้ควบคู่กับชุดที่จะป้อนชิ้นงานเข้าสู่ระบบนับจำนวนซึ่งโดยปกติมีหน้าที่กระจายชิ้นงานให้แผ่ออกก่อนที่จะเข้าสู่ระบบนับจำนวนต่อไป เช่น เครื่องนับชิ้นงานด้วยกล้อง
Link ของบริษัท
เครื่องบรรจุ เครื่องเรียง เครื่องป้อน ฟีดเดอร์
ติดต่อเรา
รับผลิตเครื่องจักรเรียงชิ้นงาน เครื่องสั่น เพื่อป้อนชิ้นงานอัตโนมัติ
รับผลิตเครื่องจักรเรียงชิ้นงาน คัดชิ้นงาน เครื่องสั่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แบบอัตโนมัติ
เครื่องตรวจชิ้นงาน นัดชิ้นงาน ประกบชิ้นงาน พับชิ้นงาน และอื่นๆ รวมถึงระบบ automation ต่างๆ โดยออกแบบและผลิตตามความต้องการของลูกค้า
สามารถทดสอบเบื้องต้นสำหรับชิ้นงานต่างๆได้ที่โรงงานของเราเลยครับ สนใจก็ติดต่อมาได้ไม่ต้องเกรงใจครับที่เบอร์ 081-9850405 (คุณวัชรวิชญ์) ถ้าไม่ได้รับก็จะโทรกลับครับ
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมดูได้จากลิ้งค์ข้างล่างนี้ครับ
บริษัท ไทยซูมิ จำกัด
ตะแกรงร่อนแบบสั่นด้วย vibration unit
เป็นตัวอย่างการใช้ vibration unit เพื่อร่อนผงละเอียด (ในรูปเป็นการร่อนแป้งออกจากเม็ดโซบะโดยเขย่าผ่านตะแกรง)
ในรูปเป็น vibration unit ของ Shinko (JAPAN)
ทางเราสามารถทำเครื่องให้ได้ตามต้องการทั้งการใช้ vibration unit, มอเตอร์สั่น, รวมถึงตะแกรงร่อนแบบถังหมุน
รับผลิตเครื่องจักรตามสั่ง
Thai Sumi Company Limited
Staple feeder – โบว์ลฟีดเดอร์สำหรับเรียงแม็กเย็บกระดาษ
โบว์ลฟีดเดอร์สำหรับเรียงแม็กเย็บกระดาษ
Vibration bowl feeder for staples.
Testing & Tuning before completion.
http://www.thaisumi.com/index.php/product-of-thaisumi/all-machine-of-thaisumi
www.thaisumi.com
รับออกแบบเครื่องจักรอัตโนมัติ – automation
รับออกแบบเครื่องจักรอัตโนมัติ
โดยบริษัท ไทยซูมิ จำกัด
www.thaisumi.com
ติดต่อมาได้เลยครับ ไม่ต้องเกรงใจ
ยินดีให้คำแนะนำครับ
เครื่องประกอบชิ้นงานอัตโนมัติ – ขายและติดตั้งตามต้องการ
เครื่องประกอบชิ้นงานในกรณีที่มีชิ้นงานตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปนั้นจะประกอบด้วยตัวเรียงชิ้นงานแต่ละชิ้นเข้าสู่ส่วนประกอบชิ้นงาน เช่น Station ที่หมุนรอบด้านได้ การใช้ระบบการหมุนของ Station จำเป็นต้องมีความแม่นยำถูกต้องสูงโดยเฉพาะชิ้นงานที่มีขนาดเล็ก
ทั้งนี้การทำงานของระบบประกอบสามารถปรับแต่งหรือเปลี่ยนแปลงได้โดยการโมดิฟายด์อุปกรณ์แต่ละจุดของ station รวมถึงระบบคอนโทรล PLC ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนชิ้นงานที่มีลักษณะต่างกัน
สนใจสามารถปรึกษาทางบริษัท ไทยซูมิ จำกัดได้โดยตรง
www.thaisumi.com
เครื่องนับชิ้นงาน เครื่องบรรจุชิ้นงาน เครื่องตรวจสอบชิ้นงาน (วีดีโอ)
ทางเราสามารถออกแบบระบบนับชิ้นงาน ตรวจสอบชิ้นงานและบรรจุชิ้นงาน แพ็คลงถุงพร้อมซีลได้ครบทั้งระบบ โดยการนับชิ้นงานสามารถใช้ได้หลายวิธีการ เช่น นับโดยเรียงชิ้นงานผ่าน sensor ตรวจจับชิ้นงาน เช่น ระบบม่านแสง, ระบบ proximity, ระบบกล้อง vision เป็นต้น ซึ่งระบบกล้อง vision นั้นมีความสามารถในการตรวจสอบชิ้นงานเทียบกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ได้ด้วย เช่น การวัดเทียบขนาด, การวัดสี, การวัดการบิ่น, การวัดการสกรีนโลโก้, การวัดสิ่งแปลกปลอม เป็นต้น
ท่านที่สนใจสามารถโทรติดต่อสอบถามทางเราได้โดยตรงกับทางบริษัท ไทยซูมิ จำกัด ที่เบอร์ 08l-4466l53 หรือ 081-9850405
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเยี่ยมชมเว็บไซท์เราที่ www.thaisumi.com
ตัวอย่างวีดีโอของเครื่องเช่น
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเยี่ยมชมเว็บไซท์เราที่ www.thaisumi.com
เครื่องนับชิ้นงาน เครื่องบรรจุชิ้นงาน เครื่องตรวจสอบชิ้นงาน (วีดีโอ)
วัตถุดิบต่างๆ+ชีวมวล สำหรับผลิตเชื้อเพลิงอัดเม็ดในประเทศไทย
การลงทุนเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ด (pellet, wood pellet, biomass pellet) นั้นมีสิ่งที่จะต้องพิจารณาหลักๆคือ
1. Technology
ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตรวมถึงเครื่องจักรที่ใช้ในการเตรียมวัตถุดิบให้พร้อมสำหรับการอัดเม็ดและเครื่องอัดเม็ดนั้นมีค่อนข้างจะพร้อมอยู่แล้ว เรียกได้ว่าถ้ามีเงินลงทุนก็สามารถซื้อหาได้ แต่จะใช้เทคโนโลยีของใครหรือใช้เครื่องของผู้ผลิตเครื่องเจ้าไหนหรือประเทศไหนก็ขึ้นกับนโยบายการลงทุนรวมถึงประสบการณ์ของผู้ที่ต้องการลงทุน
ดังนั้นผู้ที่ต้องการลงทุนควรจะหาข้อมูลรวมถึงไปดูงานจริงให้ได้มากที่สุดก่อนที่จะตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรที่พบบ่อยก็คือความคงทนของเครื่องจักร เช่นเครื่องจักรที่ผลิตจากทางประเทศจีนจะมีปัญหาอายุการใช้งานของเครื่องจักรและชิ้นส่วนเครื่องจักรเช่นลูกปืน, roller, หน้า dieplate เป็นต้น เนื่องจากที่ประเทศจีนนั้นใช้เหล็ก recycle เป็นวัตถุดิบในการผลิตได้
การที่อายุการใช้งานของชิ้นส่วนนั้นสั้นทำให้ต้องมีการหยุดการผลิตเป็นระยะๆเพื่อซ่อมบำรุงซึ่งทำให้สิ้นเปลืองแรงงาน ค่าชิ้นส่วน รวมถึง down time ทำให้กำลังการผลิตโดยรวมลดลง เหล่านี้จะทำให้หลายๆคนเริ่มจะผลิตชิ้นส่วนที่สำคัญๆของเครื่องจักรอัดเม็ดในไทยเองเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
โดยคร่าวๆแล้ว ถ้าจะต้องการผลิตพวกชีวมวลอัดเม็ดที่กำลังการผลิตประมาณ 2-4 ตันต่อชั่วโมง เงินลงทุนจะอยู่ที่ประมาณ 15-20 ล้านบาทขึ้นกับชนิดของวัตถุดิบ (การเตรียมวัตถุดิบให้อยู่ในสภาพที่พร้อมสำหรับการอัด)
2. Logistic cost ของวัตถุดิบและชีวมวลที่อัดเม็ดแล้ว
ที่สำคัญคือค่าใช้จ่ายในการรวบรวมวัตถุดิบชีวมวลมายังโรงงานอัดเม็ดซึ่งมีความสำคัญเป็นอย่างมากเมื่อเทียบกับการส่งชีวมวลที่อัดเม็ดแล้วไปยังท่าเรือหรือโรงงานผู้ซื้อ ทั้งนี้เนื่องจากวัตถุดิบที่รวบรวมมาอาจจะยังมีน้ำหนักเบา (Bulk density ต่ำมาก) ซึ่งทำให้ค่าขนส่งค่อนข้างสูง รวมถึงยังมีความชื้นสูงซึ่งทำให้บางครั้งการขนส่งชีวมวลนั้นเป็นการขนส่งส่วนที่เป็นน้ำถึงครึ่งหนึ่งของน้ำหนักหรือมากกว่า เช่นหญ้าเนเปียร์มีความชื้นสูงได้ถึง 70% หรือมากกว่านั้น เป็นต้น
ดังนั้นการขนส่งวัตถุดิบเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาให้ดี ซึ่งจะรวมถึงการเก็บเกี่ยววัตถุดิบด้วย เช่นการวางแผนการเก็บเกี่ยวหญ้าเนเปียร์ ระยะทางจากจุดที่มีชีวมวลอยู่ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เป็นต้น
นี่เป็นที่มาที่ทำให้เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกร เช่นเกษตรกรในภาคอีสานมีการรวมตัวกันเพื่อรวบรวมชีวมวลมาเป็นวัตถุดิบเพื่อป้อนเข้าสู่โรงงาน การเปิดที่รับซื้อชีวมวลในหลายๆพื้นที่เพื่อเป็นการรวบรวมวัตถุดิบ
ดังนั้น ก่อนที่จะลงทุนผลิตชีวมวลอัดเม็ดก็จำเป็นจะต้องพิจารณาศักยภาพในส่วนนี้ด้วย
3. Raw material biomass (Type, Size, availability, collectability, etc)
ชนิดของวัตถุดิบก็มีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวัตถุดิบชีวมวลนั้นมีหลากหลายและอยู่ในสภาพที่แตกต่างกัน วัตถุดิบที่มีความง่ายในการรวบรวมหรืออยู่ในสภาพที่ง่ายต่อการอัดเม็ดก็จะมีราคาสูง เช่น ขี้เลื่อยและแกลบ เป็นต้นซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้สามารถนำไปทำประโยชน์ได้หลายทางอยู่แล้ว ความต้องการจึงมีสูงทำให้ราคานั้นสูงตามไปด้วย
วัตถุดิบอื่นๆเช่น เหง้ามันสำปะหรัง, เปลือกไม้, หญ้าเนเปียร์, ต้นอ้อยและต้นข้าวโพด, ใบสัปปะรด, ฟางข้าว เป็นต้น นั้นก็มีความยากง่ายในการจัดการต่างกัน ค่าใช้จ่ายในการจัดการวัตถุดิบเหล่านี้ให้พร้อมสำหรับการนำมาอัดเป็นเม็ดก็รวมถึง
3.1 การนำวัตถุดิบออกมาจากพื้นที่ เช่นเหง้ามันสำปะหรังซึ่งก็ต้องมีการขุด, ต้นข้าวโพดที่ต้องมีการตัด เป็นต้น
ความยากง่ายในการได้วัตถุดิบในแต่ละช่วงของปี รวมถึงฤดูกาล ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ต้องนำมาพิจารณา
3.2 การเตรียมให้วัตถุดิบข้างต้นให้มีขนาดที่เหมาะสมกับการอัด เช่น การบด การสับ เครื่องร่อนแยกขนาด เป็นต้น
3.3 การเตรียมวัตถุดิบที่สับหรือบดแล้วให้แห้งพอเหมาะสำหรับการอัด เช่นความชื้น 15-20% ซึ่งก็จำเป็นที่จะต้องมีลานตากแห้ง หรือเครื่องอบแห้ง (dryer)
สำหรับการใช้งาน wood pellet นั้นได้รับการพิสูจน์มาแล้วว่าช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากกว่ากรณีการใช้น้ำมันเตามากกว่า 50% แต่ทั้งนี้ก็จำเป็นจะต้องเปลี่ยนแปลงระบบเตาเผาจากเตาเผาระบบน้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิงอัดเม็ดแทนแต่การคืนทุนปกติก็จะไม่เกิน 1.5-2 ปี
แนวโน้มความต้องการชีวมวลอัดเม็ด (wood pellet)
ปัจจุบันนอกจากความต้องการในประเทศแล้วก็ยังมีความต้องการชีวมวลอัดเม็ดเป็นอย่างมากในต่างประเทศเช่น ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้ เป็นต้น ซึ่งความต้องการดังกล่าวนั้นยังมีมากกว่าปริมาณที่ประเทศไทยผลิตอยู่ในปัจจุบันถึง 3 เท่าตัว โดยยังมีแนวโน้มความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากการที่ประเทศดังกล่าวมีการกำหนดกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการบังคับให้ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงทั้งในอุตสาหกรรมและครัวเรือน
ความต้องการดังกล่าวผลักให้ราคาชีวมวลอัดเม็ดเพิ่มขึ้นสูงถึงเกือบประมาณ 120-140 เหรียญดอลล่าต่อตัน (4000-4500 บาทต่อตัน)
Automation system – ระบบป้อนตัดและดัดขา IC ครบทั้งระบบ
Automation system – ระบบป้อนตัดและดัดขา IC ครบทั้งระบบ
โดยบริษัท ไทยซูมิ จำกัด
http://www.thaisumi.com
สนใจติดต่อมาได้ครับ ยินดีให้คำปรึกษาครับ
ระบบป้อนชิ้นงาน พลาสติก น็อต ท่อ – นับจำนวน – บรรจุ อัตโนมัติ
เราผลิตระบบนับชิ้นงาน ป้อนชิ้นงานประเภทต่างๆแบบอัตโนมัติ รวมถึง robot system และ vision inspection สำหรับใช้กับระบบ automation ให้ท่านตามที่ท่านต้องการ
การออกแบบเครื่องประกอบชิ้นงาน vibration bowl feeder
ในกรณีที่มีชิ้นงานตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปและต้องการนำมาประกอบกันนั้น สามารถใช้ Bowl Feeder + Linear Feeder สำหรับเรียงชิ้นงานแต่ละชิ้นเพื่อป้อนเข้าสู่ Station การประกอบ (ดังตัวอย่างในรูป) ซึ่ง station จะสามารถหมุนได้เพื่อรับชิ้นงานและหมุนไปประกอบชิ้นงานเป็นลำดับ ทั้งนี้ระบบ station ยังสามารถติดตั้งกล้อง vision เพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบชิ้นงานที่ประกอบแล้วด้วย
การออกแบบระบบประกอบนั้นต้องอาศัยความแม่นยำของการทำงานของอุปกรณ์อย่างสูงเพื่อลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น สนใจสามารถปรึกษาทางบริษัท ไทยซูมิ จำกัดได้โดยตรง
www.thaisumi.com